4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุภาพ (Children with Physical and Health Impairments)
- เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
- อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
- มีปัญหาทางระบบประสาท
- มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
1.) เด็กซีพี (CP;Cerebrai Palsy )
- การเป็อัมพาตเนื่องมาจากระบบประสาทพิการ หรือมีผลกระทบมาจากสมองที่กำลังพัฒนาการถูกทำรายก่อนคลอด ระหว่างคลอดเเละหลังคลอด
- การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล้าช้า เด็กซีพีมีความบกพร่องที่เกิดจากสวนต่างๆของสมองเเตกต่างกัน
- อัมพาตเกร็งเเขนขา หรือครึ่งซีก Spastic
- อัมพาตของลีลาผิดปกติ Athetoid
- อัมพาตสูญเสียการสรงตัว Ataxia
- อัมพาตตึงแขน Rigid
- อัมพาตแบบผสม Mixed
- เกิดจากเส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆเสื่อมสลายตัว
- เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
- มีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่งลง สติปัญญาเสื่อม
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก กระดูข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อนล่างเเนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด
- ระบบกระดูกกล้ามเนื้อมีการติดเชื้อ เช่น วัณโรค กระดูกหลังโก่ง กระดูผุ เป็นแผลเรื้อรังเป็นหนอง เศษกระดูกผุ
- กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ข้ออักเสพ
มีอาการกล้ามเนื้อลีบ เล็ก แต่ไม่มีผลกระทบกับสติปัญา
อาการ
- ยืนไม่ได้ หรืออาจปรับสภาะให้ยืนได้ด้วยอุกรณ์เสริม
6.โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis Imperfeta)
2.) ความบกพร่องทางสุขภาพ
1. โรคชัก (Epilepsy)เป็นลักษณะที่เกิดจากความผิดปกติของระบบสมอง
- โรคลมบ้าหมู (Grand Mal)
เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชัก กล้ามเนื้อเกร็งหรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น
- การชักในเวลาสั้นๆ (Petit Mal)
- เมื่อมีอาการชักเด็กจะหยุดชะงักในท่าก่อนชัก
- เด็กจะนั่งเฉย หรืออาจจะตัวสั่นเล็กน้อย
- การชักแบบรุนแรง (Grand Mal)
- อาการชักแบบ Partial Complex
- กัดริมฝีปากไม่รู้สึกตัว ถูตามแขนขา เดินไปมา
- บางคนอาจเกิดความโกรธหรือโมโห หลังชักอาจจำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ และต้องการนอนพัก
- อาการไม่รู้ตัว (Focal Partial)
- สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางร่ายการ
- โรคระบบทางเดินหายใจ
- โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
- โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
- โรคษีรษะโต (Hydrocephalus)
- โรคหัวใจ (Cardiac Conditions)
- โรคมะเร็ง
- เลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)
- ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
- มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
- ท่าเดินคล้ายกรรไกร
- เดินขากระเผลก หรือเดินเชื้องช้า
- ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
- มักบ่นเจ็บหน้าอก บ่นปวดหลัง
- หน้าแดงง่าย มีสีเขียวจางบนแก้ม ริมฝีปากหรือปลายนิ้ว
- หกล้มบ่อยๆ
คือ เด็กที่พูดไม่ชัด ออกเสียงผิเพี้ยน อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไปตามระดับขั้น การใช้อวัยวะเพื่อการพูดไม่เป็นไปดั่งต้องการ มีอาปกิริยาที่ผิดปกติขณะพูด
1. ความผิดปกติทางด้านการออกเสียง
- ออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากมาตรฐานของภาษาเดิม
- เพิ่มหน่วยเสียงเข้าไปในคำโดยไม่จำเป็น
- เอาเสียงหนักมาแทนอีกเสียงหนึ่ง เช่น กวาด เป็น ฟาด
3. ความผิดปกตด้านเสียง
- ระดับเสียง
- ความดัง
- คุณภาพเสียง
- Motor aphasia
- เด็กที่เข้าใจคำถามหรือคำสั่ง แต่พูดไม่ได้ ออกเสียงไม่ออก
- พูดไม่ถูกไวยกรณ์
- Wernicke's aphasia
-ออกเสียงไม่ติดขัดแต่มักออกเสียผิด หรือใช้คำที่ไม่มีความหมาย
- Conduction aphasia
- Nominal aphasia
- Global aphasia
-พูดไม่ได้
- Sensory aphasia
- Motor aphasia
-เขียนตามตัวพิมพ์ไม่ได้ เกิดจากสมองซีกซ้าย
-เขียนตามคำบอกไม่ได้
- Cortical alexia
- Motor alexia
- Gerstmann's synbrome
-ไม่รู้ซ้าย-ขวา allochiria
-คำนวนไม่ได้ acalculia
-เขียนไม่ได้ agraphia
-อ่านไม่ออก alexia
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
- Vrsual agnosia
- Auditory agnosia
ลักษณะของเด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
- ในวัยทารกมักเงียบผิดปกติ ร้องไห้บ่อยๆและอ่อนแรง
- ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10 เดือน
- ไม่พูดภาษาในอายุ 2 ขวบ
- หลัง 3 ขวบแล้วเด็กยังเข้าใจภาษายาก
- ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
- หลัง 5 ขวบ เด็กยังใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
- มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุตะกัก
- ใช้ท่าทางในการสือความหมาย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น